สุดยอดวิศวกรรมน่าทึ่ง ตอน ศูนย์วิจัยแฮลลีย์

ออกอากาศ11 พ.ค. 64

IMPOSSIBLE ENGINEERING:HALLEY RESEARCH CENTRE (HALLEY VI RESEARCH STATION)

ศูนย์วิจัยแฮลลีย์ 6 ที่ได้รับรางวัล สร้างขึ้นสำหรับการสำรวจแอนตาร์กติกของอังกฤษในปี 2013 ตั้งอยู่บนหิ้งน้ำแข็งลอยน้ำห่างขั้วโลกใต้ 900 ไมล์ นี่เป็นการกำเนิดครั้งที่ 6 ของมันนับตั้งแต่ปี 1956 การสร้าง 5 ครั้งก่อนหน้านี้พ่ายแพ้ต่อสิ่งแวดล้อมที่โหดเหี้้ยมที่สุดบนโลก นี่เป็นอาคารที่ทนทานต่อสภาพอากาศมากที่สุดในโลก และเป็นสิ่งน่าตื่นเต้นทางวิศวกรรม เครื่องมือวิจัยล้ำยุคนี้ ถูกแบ่งเป็นแปดโมดูล แต่ละโมดูลตั้งอยู่บนขารองไฮโดรลิคติดแผ่นสกี ทำให้ยกตัวขึ้นได้ เพื่อหนีหิมะที่ตกสะสม และขนย้ายแยกกันไปสถานที่ตั้งใหม่ได้ ตัวสถานีทั้งหมดถูกห่อด้วยพลาสติกเสริมแก้ว เพื่อต้านความเย็นสุดขั้ว ถือเป็นครั้งแรกในทางวิศวกรรม

สถานีนี้ใช้เวลาสร้างกว่า 4 ปี เฉพาะในช่วงสั้น ๆ ที่อากาศดีพอ รองรับนักวิทยาศาสตร์ได้หลายสิบคนอย่างสบาย รวมถึงเครื่องมือที่ต้องใช้ในการทำงานปีละ 365 วันด้วย ตัวอาคารสามารถต้านทานอากาศฤดูหนาว - 56 องศาเซลเซียส และลมแรงกว่า 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมงได้ ถือเป็นการพลิกโฉมวิศวกรรมขั้วโลก

ติดตามชมรายการโลกหลากมิติ วันอังคารที่ 11 พฤษภาคม 2564 เวลา 22.30 - 23.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live

IMPOSSIBLE ENGINEERING:HALLEY RESEARCH CENTRE (HALLEY VI RESEARCH STATION)

ศูนย์วิจัยแฮลลีย์ 6 ที่ได้รับรางวัล สร้างขึ้นสำหรับการสำรวจแอนตาร์กติกของอังกฤษในปี 2013 ตั้งอยู่บนหิ้งน้ำแข็งลอยน้ำห่างขั้วโลกใต้ 900 ไมล์ นี่เป็นการกำเนิดครั้งที่ 6 ของมันนับตั้งแต่ปี 1956 การสร้าง 5 ครั้งก่อนหน้านี้พ่ายแพ้ต่อสิ่งแวดล้อมที่โหดเหี้้ยมที่สุดบนโลก นี่เป็นอาคารที่ทนทานต่อสภาพอากาศมากที่สุดในโลก และเป็นสิ่งน่าตื่นเต้นทางวิศวกรรม เครื่องมือวิจัยล้ำยุคนี้ ถูกแบ่งเป็นแปดโมดูล แต่ละโมดูลตั้งอยู่บนขารองไฮโดรลิคติดแผ่นสกี ทำให้ยกตัวขึ้นได้ เพื่อหนีหิมะที่ตกสะสม และขนย้ายแยกกันไปสถานที่ตั้งใหม่ได้ ตัวสถานีทั้งหมดถูกห่อด้วยพลาสติกเสริมแก้ว เพื่อต้านความเย็นสุดขั้ว ถือเป็นครั้งแรกในทางวิศวกรรม

สถานีนี้ใช้เวลาสร้างกว่า 4 ปี เฉพาะในช่วงสั้น ๆ ที่อากาศดีพอ รองรับนักวิทยาศาสตร์ได้หลายสิบคนอย่างสบาย รวมถึงเครื่องมือที่ต้องใช้ในการทำงานปีละ 365 วันด้วย ตัวอาคารสามารถต้านทานอากาศฤดูหนาว - 56 องศาเซลเซียส และลมแรงกว่า 160 กิโลเมตรต่อชั่วโมงได้ ถือเป็นการพลิกโฉมวิศวกรรมขั้วโลก

ติดตามชมรายการโลกหลากมิติ วันอังคารที่ 11 พฤษภาคม 2564 เวลา 22.30 - 23.30 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมสดออนไลน์ทาง www.thaipbs.or.th/live

ละครย้อนยุค

ดูทั้งหมด

♫ ♫ Songs Popular ♫ ♫

ดูทั้งหมด

คลิปมาใหม่

คนดูเยอะ 👀

ดูทั้งหมด

เสน่ห์ประเทศไทย