ThaiPBS VODhttps://program.thaipbs.or.th812222021-09-24 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตAging Society วิถีแห่งอนาคต24 ก.ย. 256412:08https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/81222https://program.thaipbs.or.th/watch/3n6VMI<p><strong>ปี 2564 ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์</strong> ขณะที่โลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ความก้าวหน้าของวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม จะเข้ามาช่วยเติมเต็มการใช้ชีวิตและความเป็นอยู่ของผู้สูงอายุได้อย่างไร ?</p><p><strong>Human-Centred Design</strong> การดีไซน์ที่นึกถึงหัวใจของผู้ใช้งานเป็นศูนย์กลางแนวคิด นวัตกรรมเพื่อผู้สูงอายุ เน้นการแก้ปัญหาจากความต้องการที่แท้จริงของมนุษย์</p><ul><li><strong>เตียงตื่นตัว หรือ “Joey”</strong> นวัตกรรมช่วยให้ผู้สูงอายุลุกขึ้นนั่งหรือยืนจากท่านอนได้เอง</li><li><strong>“BEN”</strong> อุปกรณ์ขึ้นลงเตียงแบบพับนั่งได้</li><li><strong>ผ้ากระตุ้นสมอง หรือ “อากิโกะ”</strong> สำหรับผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงต่อโรคสมองเสื่อม</li></ul><p>และวันนี้ นักวิจัยไทยยังเดินหน้าพัฒนา <strong>“ยาแก้ไขความชรา” (Rejuvenating Drug)</strong> นวัตกรรมที่จะช่วยรักษาและฟื้นฟูผู้สูงอายุจากโรคภัยในระดับ DNA ที่เรียกว่า <strong>REDGEMs หรือ มณีแดง</strong> ยาอายุวัฒนะช่วยให้มนุษย์มีอายุยืนยาวขึ้นด้วยนวัตกรรมทางการแพทย์ ซึ่งเป็นความหวังของโลกในอนาคต</p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><ul><li><strong>ศ.ดร.วิพรรณ ประจวบเหมาะ</strong> : คณบดีวิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หัวหน้าโครงการวิจัย “โครงการบูรณาการสหศาสตร์เพื่อรองรับสังคมผู้สูงวัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”</li><li><strong>ดร.ศราวุธ เลิศพลังสันติ</strong> : หัวหน้าทีมวิจัยการออกแบบและแก้ปัญหาอุตสาหกรรม กลุ่มวิจัยการออกแบบเชิงวิศวกรรมและการคำนวณ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)</li><li><strong>ดร.วนิดา จันทร์วิกูล</strong> : นักวิจัยอาวุโส กลุ่มวิจัยวัสดุและอุปกรณ์เฉพาะทางชีวภาพ ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)</li><li><strong>คุณเอกพงษ์ คงเจริญ</strong> : ผู้ช่วยวิจัย ทีมวัสดุศาสตร์อาหาร กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)</li><li><strong>ศ.ดร.นพ.อภิวัฒน์ มุทิรางกูร</strong> : อาจารย์ประจำภาควิชากายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน Aging Society วิถีแห่งอนาคต<span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 24 กันยายน 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>810602021-09-17 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตPM 2.5 หายนะ เตือนโลก17 ก.ย. 256415:37https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/81060https://program.thaipbs.or.th/watch/0KtJHK<p>จะทำอย่างไร ? หากคนไทยต้องใช้ชีวิตร่วมกับฝุ่นละอองขนาดเล็ก ภัยเงียบที่อยู่ใกล้ตัวเราทุกคน นี่คือจุดเริ่มต้นโครงการ <strong>สถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศภาคประชาชน</strong> เพื่อนำมาศึกษาวิจัยฝุ่นในหลายมิติ พร้อมทำความรู้จักตัวชี้วัดคุณภาพอากาศในธรรมชาติ</p><p>การคิดค้นพัฒนา <strong>เครื่องตรวจวัดฝุ่นขนาดเล็ก DustBoy</strong> เพื่อตรวจจับฝุ่นด้วยระบบเซนเซอร์ นวัตกรรมสู่การนำไปใช้ประโยชน์ ในการเฝ้าระวังและเตือนภัยสถานการณ์ฝุ่น มีการเชื่อมต่อข้อมูลกับระบบ Network อัจฉริยะ ที่สามารรายงานผลได้แบบ Real Time พบกับ <strong>KU TOWER</strong> สถานีวิจัยเพื่อการตรวจวัดทางอุตุนิยมวิทยาใกล้ผิวดินและมลสารทางอากาศ เพื่อศึกษาวิจัยปัญหาฝุ่นในเขตเมืองเป็นหลัก</p><p><span class="redactor-invisible-space">นอกจากนี้ ไทยยังใช้เทคโนโลยีอวกาศ นำข้อมูลจากดาวเทียมที่สามารถมองปัญหาได้ครอบคลุมทั้งประเทศและรอบด้าน มาบูรณาการเพื่อรับมือกับภัยเงียบที่กำลังคุกคามประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ<span class="redactor-invisible-space"></span></span></p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><ul><li><strong>รศ.นพ.นิธิพัฒน์ เจียรกุล</strong> : หัวหน้าสาขาวิชาโรคระบบการหายใจและวัณโรค ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล</li><li><strong>รศ.ดร.เศรษฐ์ สัมภัตตะกุล</strong> : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</li><li><strong>ผศ.ดร.สุรัตน์ บัวเลิศ</strong> : คณบดีคณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</li><li><strong>ศ.ดร.สนอง เอกสิทธิ์</strong> : อาจารย์ประจำภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</li><li><strong>ผศ.ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์</strong> : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา สาขาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร</li><li><strong>ดร.ศิริลักษณ์ พฤกษ์ปิติกุล</strong> : ผอ. สำนักประยุกต์และบริการภูมิศาสตร์สารสนเทศ สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)</li><li><strong>นพกร หวังพราย</strong> : ผู้อำนวยการสำนักการช่าง เทศบาลนครปากเกร็ด จ.นนทบุรี</li><li><strong>สมนึก ซันประสิทธิ์</strong> : ผู้จัดการมูลนิธิโลกสีเขียว</li><li><strong>อัครินทร์ พรปัญญาวิจิตร์</strong> : สมาชิกเพจปั่นเมือง</li><li><strong>ศิระ ลีปิพัฒนวิทย์</strong> : แอดมินเพจปั่นเมือง</li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน PM 2.5 หายนะ เตือนโลก<span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 17 กันยายน 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>809072021-09-10 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตสมุนไพร พฤกษาบำบัดแห่งอนาคต10 ก.ย. 256418:03https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/80907https://program.thaipbs.or.th/watch/NTEcYf<p><strong>ท่ามกลางการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 “สมุนไพร” กำลังเป็นตัวช่วยทางเลือกและทางรอดในการรักษา นักวิทยาศาสตร์ทั้งไทยและต่างประเทศหันมาศึกษาสมุนไพรอย่างจริงจัง</strong></p><p><strong>ยาแผนไทย</strong> เข้ามามีบทบาทเป็นสมุนไพรทางเลือก ใช้รักษาผู้ติดเชื้อโควิด ทั้งฟ้าทะลายโจร กระชาย และยาสมุนไพรอีกหลายตำรับ สามารถช่วยผู้ติดเชื้อหลายกลุ่ม จนส่งผลให้มีการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโควิดอย่างแพร่หลาย สมุนไพรจึงไม่ใช่เรื่องไกลตัวอีกต่อไป เมื่อมีโรคอุบัติใหม่เกิดขึ้น</p><p><span class="redactor-invisible-space">จากองค์ความรู้ดั้งเดิมทางการแพทย์แผนไทย มีการประยุกต์เป็นนวัตกรรมสมุนไพร นักวิจัยด้านลำเลียงแสง ใช้ความสามารถของเทคโนโลยี <strong>“แสงซินโครตรอน”</strong> ศึกษากลไกการออกฤทธิ์ของสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านโควิด-19 ได้รวดเร็วยิ่งขึ้น งานวิจัยพบสมุนไพรที่มีประสิทธิภาพสูงในการใช้ยับยั้งเชื้อไวรัส ถือเป็นความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรมสมุนไพรจากนักวิจัยไทย ที่นำไปสู่การรักษาผู้คนด้วยสมุนไพรในอนาคต</span></p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><ul><li><strong>นพ.พิเชฐ บัญญัติ</strong> : รองอธิการบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์และเลขาธิการสมาคมเวชกรรมไทย</li><li><strong>พท.หลักทอง ใบสะอาด</strong> : เลขานุการประชาสัมพันธ์ สภาการแพทย์แผนไทย และผู้ประสานงานทั่วไปโครงการคลินิกอาสาสภาการแพทย์แผนไทยหมอไทยใจดี</li><li><strong>รศ.ดร. ฐนโรจน์ โรจนกุลเสฏฐ์</strong> : ประชาสัมพันธ์ สภาการแพทย์แผนไทย สหคลินิก บูรพาซิตี้ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์แผนไทยประยุกต์</li><li><strong>สมัย คูณสุข</strong> : ประธานที่ปรึกษากลุ่มสมุนไพรบ้านดงบัง ต.ดงขี้เหล็ก อ.เมือง จ.ปราจีนบุรี</li><li><strong>ดร. เกรียงศักดิ์ ขาวเนียม</strong> : อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง</li><li><strong>นพ.อนวัช เสริมสวรรค์</strong> : รองคณบดีฝ่ายวิจัย คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง</li><li><strong>ดร. กิตติคุณ วังกานนท์</strong> : อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน สมุนไพร พฤกษาบำบัดแห่งอนาคต<span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 10 กันยายน 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>807682021-09-03 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตเมล็ดพันธุ์ = มั่นคง3 ก.ย. 256418:24https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/80768https://program.thaipbs.or.th/watch/vdSMg0<p>ภัยธรรมชาติและสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง กำลังส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมั่นคงทางอาหาร นั่นคือ <strong>“เมล็ดพันธุ์”</strong> โดยเฉพาะไทยที่ต้องการก้าวไปสู่ <strong>“ครัวของโลก”</strong><strong></strong> ซึ่งมีหัวใจสำคัญอยู่ที่พันธุ์พืชอันหลากหลายและอุดมสมบูรณ์</p><p>วันนี้ประเทศไทยกำลังมุ่งวิจัยและปรับปรุงพันธุ์พืช เร่งสร้างนักผลิตเมล็ดพันธุ์ระดับประชาชน นำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมเข้ามาช่วยนำไปสู่การวิจัยเมล็ดพันธุ์ การใช้ <strong>เทคนิคการระบุตำแหน่งยีนส์ หรือ DNA พันธุ์พืช</strong> <strong>การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการค้นหา</strong> <strong>“เครื่องหมายโมเลกุล (Molecular Marker)”</strong> มาใช้ตรวจสอบความบริสุทธิ์เมล็ดพันธุ์ โดยพัฒนาเป็น <strong>“ชุดตรวจไฮบริดชัวร์ (HybridSure)<strong>”</strong><span class="redactor-invisible-space"></span></strong> เทคโนโลยีที่ช่วยยืนยันคุณลักษณะที่ดี ตรงตามพ่อแม่พันธุ์ที่ต้องการ</p><p><span class="redactor-invisible-space">องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีหลายด้าน จะส่งผลให้ไทยก้าวไปสู่ <strong>“</strong><span class="redactor-invisible-space"><strong>ศูนย์กลางการค้าเมล็ดพันธุ์ของโลก หรือ Seed Hub<strong>”</strong></strong> โดยเฉพาะงานพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชเขตร้อน เพื่อผลิตป้อนตลาดเอเชียและโลกในอนาคต</span></span></p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><p><span class="redactor-invisible-space"></span></p><ul><li><strong>คุณวิราภรณ์ มงคลไชยสิทธิ์</strong> : รองผู้อำนวยการ สวทช. ผู้อำนวยการสถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (AGRITEC)</li><li><strong>ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา</strong> : รักษาการรองผู้อำนวยการ ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร และผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพพืชและการจัดการแบบบูรณาการ</li><li><strong>คุณจุฬารัตน์ อยู่เย็น</strong> : โครงการพัฒนาทักษะผู้ผลิตเมล็ดพันธุ์รุ่นใหม่ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตร (สท.)</li><li><strong>ดร.อรวรรณ ชัชวาลการพาณิชย์</strong> : ทีมวิจัยพืชและแบคทีรีโอฟาจ (APTV) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)</li><li><strong>คุณสัมฤทธิ์ ปานทอง</strong> : เจ้าของสวนเมล่อน คลองบางไผ่</li><li><strong>ดร.วิรัลดา ภูตะคาม</strong> : หัวหน้าห้องปฏิบัติการวิจัยจีโนม หน่วยวิจัยเทคโนโลยีจีโนม ไบโอเทค</li><li><strong>ดร.ยี่โถ ทัพภะทัต</strong> : ทีมวิจัยนวัตกรรมโรงงานผลิตพืชสมุนไพร (APFT) ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)<br></li><li><strong>ดร.ศิษเฎศ ทองสิมา</strong> : ผู้อำนวยการธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ สวทช.<br></li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน เมล็ดพันธุ์ = มั่นคง<span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 3 กันยายน 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>806252021-08-27 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตBCG โมเดลเศรษฐกิจหมุนเวียน27 ส.ค. 256418:37https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/80625https://program.thaipbs.or.th/watch/H213Vk<p><strong>โลกกำลังเผชิญวิกฤตด้านสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้เกินขีดจำกัด ผลกระทบที่ตามมา คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และปัญหาขยะล้นโลก</strong></p><p><strong>ปัญหาขยะ</strong> ขยายไปสู่การค้นคว้าเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ ด้วยการใช้วัสดุธรรมชาติทดแทน มีการคิดค้นพัฒนาฟิล์มพลาสติก “กินได้” ที่ใช้ “หัวบุก” วัตถุดิบธรรมชาติ สามารถช่วยป้องกันการปนเปื้อนและถนอมอาหารที่เคลือบผิวไว้</p><p><span class="redactor-invisible-space"><strong>นักวิจัยกำลังเร่งพัฒนาพลาสติกรูปแบบใหม่ เพื่อลดภาระโลก ถุงพลาสติกย่อยสลายได้ ภายใน 4 เดือน ถุงหายใจได้ หรือ ActivePAK</strong> งานวิจัยการใช้ความรู้ด้านวัสดุศาสตร์ นำมาออกแบบโครงสร้างพอลิเมอร์ เพื่อช่วยยืดอายุผักผลไม้ให้คงความสดนานขึ้น เพื่อลดปัญหาของสดเสียง่าย</span></p><p><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space">วันนี้ยุทธศาสตร์ชาติ BCG โมเดล กำลังเริ่มขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ เน้นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า ตั้งแต่การออกแบบ การผลิตที่สร้างของเสียน้อยที่สุด ใช้วัสดุทางเลือก และนำวัสดุกลับมาใช้ซ้ำ เพื่อลดปริมาณของเสียจนถึงศูนย์ หรือ Zero Waste ซึ่งเป็นหัวใจสำคัญของเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ Circular Economy อนาคตที่เราต้องพร้อมในก้าวต่อไป</span></span></p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><p><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"></span></span></p><ul><li><strong>ดร.นพดล เกิดดอนแฝก</strong> : ทีมวิจัยเทคโนโลยีพลาสติก กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC) สวทช.</li><li><strong>ดร.วิชชุดา เดาด์</strong> : หัวหน้าเทคโนโลยีพลาสติก กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)</li><li><strong>รศ.ดร.ชาลีดา บรมพิชัยชาติกุล</strong> : หัวหน้าทีมวิจัยจากภาควิชาเทคโนโลยีทางอาหาร คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</li><li><strong>ศ.ดร.สักกมน เทพหัสดิน ณ อยุธยา</strong> : คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี</li><li><strong>รศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต</strong> : หัวหน้าศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบเพื่อสิ่งแวดล้อม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์</li><li><strong>ดร.วิจารย์ สิมาฉายา</strong> : ผู้อำนวยการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย</li></ul><p><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน BCG โมเดลเศรษฐกิจหมุนเวียน<span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 27 สิงหาคม 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></span></span></span></p>804972021-08-20 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตBCG โมเดลเศรษฐกิจ ปั้นไทยสู่โลก20 ส.ค. 256416:01https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/80497https://program.thaipbs.or.th/watch/wUJw53<p>ปัจจุบัน เทคโนโลยีชีวภาพที่เรียกว่า <strong>Bio Economy</strong> กำลังเป็นยุทธศาสตร์สำคัญของทั่วโลกและไทย ที่จะเข้ามาช่วยแก้ปัญหาเศรษฐกิจและชีวิตมนุษย์ โดยเฉพาะในภาคการเกษตร เราจะสามารถกำหนดคุณสมบัติพืชที่ต้องการปลูกได้ โดยไม่ต้องพึ่งพาฤดูกาลอีกต่อไป ด้วยวิถีเกษตรใหม่ภายใต้ <strong>Plant Factory หรือ โรงงานผลิตพืช</strong></p><p>เรากำลังมุ่งพัฒนาภาคการเกษตรของไทย ไปสู่วิถีการจัดการพืชลักษณะเกษตรแม่นยำ อาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สำคัญเข้ามาช่วย นั่นคือ <strong>เทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยาและรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช หรือ Plant Phenomics Facility</strong> ระบบอัตโนมัติที่จะเป็นฐานความรู้ให้เราจัดการกระบวนการปลูกพืชพร้อมเตือนภัยในภาคการเกษตรในอนาคต</p><p>ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ BCG โมเดล รูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศ ที่มีศักยภาพสูงในการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยได้อย่างทั่วถึง พร้อมผลักดันให้ไทยก้าวสู่การเป็นผู้นำระดับโลกในด้าน Bio Economy</p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><ul><li><strong>ดร.ณรงค์ ศิริเลิศวรกุล</strong> : ผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)</li><li><strong>ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา</strong> : รักษาการรองผู้อำนวยการ ด้านวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)</li><li><strong>ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร</strong> : ห้องปฏิบัติดีเอ็นเอเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน</li><li><strong>ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์</strong> : ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)</li><li><strong>คุณสายันต์ ตันพานิช</strong> : รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรมชีวภาพ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)</li><li><strong>ดร.นิสภา ศีตะปันย์</strong> : หัวหน้าทีมวิจัยวัสดุศาสตร์อาหาร กลุ่มวิจัยเทคโนโลยีโพลิเมอร์ขั้นสูง ศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ (MTEC)</li><li><strong>ดร.กอบกุล เหล่าเท้ง</strong> : ผู้อำนวยการกลุ่มวิจัยส่วนผสมฟังก์ชั่นและนวัตกรรมอาหาร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)</li><li><strong>ดร.วรรณพ วิเศษสงวน</strong> : ผู้อำนวยการ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)</li><li><strong>ดร.อติกร ปัญญา</strong> : หัวหน้าทีมวิจัย ทีมวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพทางอาหาร กลุ่มวิจัยส่วนผสมฟังก์ชั่นและนวัตกรรมอาหาร ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (BIOTEC)</li><li><strong>ดร.ศิษเฎศ ทองสิมา</strong> : ผู้อำนวยการ ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)</li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน BCG โมเดลเศรษฐกิจ ปั้นไทยสู่โลก<span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 20 สิงหาคม 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span><br></p>803122021-08-13 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตAI อัจฉริยะกู้โลก13 ส.ค. 256417:32https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/80312https://program.thaipbs.or.th/watch/oBxQ3r<p><strong>เมื่อเกิดวิกฤตจำนวนคนไข้ที่ติดเชื้อโควิด-19 เพิ่มขึ้นอย่างน่าตกใจ และไม่มีทีท่าจะสิ้นสุด</strong> เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์และสาธารณสุขกำลังย่ำแย่ การแบ่งเบาภาระให้ได้มากที่สุด คือ หนทางเดียวที่ต้องทำให้ได้ในเวลานี้</p><p><strong>นวัตกรรม AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์ ในวงการแพทย์ จึงเป็นทางเลือกและทางรอด</strong> ที่ต้องเร่งพัฒนาแบบก้าวกระโดด ทั้งคิดค้นและพัฒนานวัตกรรม ให้ทันกับตัวเลขผู้ติดเชื้อ และความสูญเสียของผู้คน</p><ul><li><span class="redactor-invisible-space"><strong>ระบบอินสเปคทรา ซีเอ็กซ์อาร์ (Inspectra CXR)</strong> ผลงาน Ai ตรวจจับโรคปอดสำหรับผู้ป่วยโควิด-19</span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><strong>ซีร่าคอร์ (CiRA CORE)</strong> AI สัญชาติไทย ช่วยให้ผู้ติดเชื้อทราบว่า ติดเชื้อโควิด-19 สายพันธุ์อะไร งานวิจัยฝีมือคนไทย เพื่อตรวจโควิดกลายพันธุ์ใน 30 วินาที</span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><strong>NEF</strong> ระบบเฝ้าระวังและติดตามการเคลื่อนไหวของผู้ป่วยบนเตียง เพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับและหุ่นยนต์ผู้ช่วยแพทย์ทุกรูปแบบ เพื่อรับมือกับสถานการณ์วิกฤตขณะนี้</span></li></ul><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong><span class="redactor-invisible-space"></span></p><ul><li><strong>ผศ. ดร.วิทยา วัณณสุโภประสิทธิ์</strong> : ผู้อำนวยการสำนักบริหาร หลักสูตรวิศวกรรมนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และนายกสมาคมวิชาการหุ่นยนต์ไทย</li><li><span class="redactor-invisible-space"><strong>รศ. ดร.ศิริเดช บุญแสง</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> คณบดีคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง</span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>รศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล</span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง</span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.สุภชัย วงศ์บุณย์ยง</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> ผู้ช่วยผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยและกิจการต่างประเทศ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี</span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.ปราการเกียรติ ยังคง</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> อาจารย์ประจำสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี</span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.วราสิณี ฉายแสงมงคล</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> อาจารย์ประจำสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (FIBO) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี</span></span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.อานนท์ สุดาพันธ์</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> นักวิจัยประจำ Regional Center of Robotic Technology</span></span></span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ภาคภูมิ เดชหัสดิน</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> นักเทคนิคการแพทย์ เจ้าของเพจ "หมอแล็บแพนด้า"</span></span></span></span></span></span></span></span></span></li></ul><p><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน AI อัจฉริยะกู้โลก<span class="redactor-invisible-space"> วันศุกร์ที่ 13 สิงหาคม 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></p>801812021-08-06 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตมหันตภัย เคมีพิบัติ6 ส.ค. 256414:57https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/80181https://program.thaipbs.or.th/watch/KJ6RkQ<p><strong>ร่วมถอดบทเรียน สารเคมีระเบิด โรงงานที่กิ่งแก้ว จ.สมุทรปราการ</strong> ที่สร้างความเสียหายเป็นบริเวณกว้างรอบทิศทาง บ้านเรือนประชาชนได้รับความเสียหายจากแรงระเบิด จากสารเคมีที่ชื่อ <strong>"สไตรีน"</strong> เกิดปัญหามลพิษตามมาทันที จนต้องสั่งอพยพผู้คนในรัศมี 5 กิโลเมตรอย่างเร่งด่วน</p><p><strong>เรามีเทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่สามารถช่วยกู้ภัย "เคมีพิบัติ" ครั้งนี้ได้</strong> จากผลงานนักวิจัยไทย <strong>"แบบจําลองทิศทางลม"</strong> ซึ่งสามารถรายงานผลกระทบแบบเรียลไทม์ ช่วยให้เราทราบทิศทางของมลพิษ เพื่อช่วยประชาชนออกจากพื้นที่ได้อย่างปลอดภัย และ <strong>"โมเดล SAFER ONE"</strong> ระบบตรวจวัดและแจ้งเตือนอันตรายฉุกเฉิน หากเกิดการรั่วไหลของสารเคมี หลังเกิดเหตุ เราสามารถตรวจวัดการตกค้างของสารเคมีที่อาจปนเปื้อนสู่แหล่งน้ำ หรือพื้นดินโดยรอบ และอากาศที่อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพ</p><p><strong>ทั้งหมดคือความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อป้องกันภัยจากเคมีพิบัติ</strong></p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong></p><ul><li><strong>คุณอรรถพล เจริญชันษา</strong> : อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ</li><li><strong>รศ.ดร.กิติกร จามรดุสิต</strong> : รองอธิการบดีฝ่ายสิ่งแวดล้อมและพัฒนาการอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยมหิดล</li><li><strong>ศ.ดร.ธีรยุทธ วิไลวัลย์</strong> : รองคณบดีฝ่ายวิจัย ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</li><li><strong>ผศ.พญ.สาทริยา ตระกูลศรีชัย</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> ศูนย์แพทย์พิษวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล</span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><strong>คุณภิญโญ เอี่ยมมา</strong><span class="redactor-invisible-space"> :<span class="redactor-invisible-space"> หัวหน้าฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อบต.บางพลีใหญ่ จ.สมุทรปราการ</span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.วิน ไตรวิทยานุรักษ์</strong><span class="redactor-invisible-space"> :<span class="redactor-invisible-space"> ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้เชี่ยวชาญด้านแบบจำลองมลพิษทางอากาศ</span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>รศ.ดร.สราวุธ เทพานนท์</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ทรงคุณวุฒิด้านคุณภาพอากาศ พิจารณาการรายงาน EIA โครงการปิโตรเลียมและปิโตรเคมี</span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.ปกรณ์ อาภาพันธุ์</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> ผู้อำนวยการ GISTDA สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน)</span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ผศ.ดร.ธนพล เพ็ญรัตน์</strong><span class="redactor-invisible-space"> :<span class="redactor-invisible-space"> อาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร<span class="redactor-invisible-space"> และผู้เชี่ยวชาญในด้านวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมด้านการฟื้นฟูการปนเปื้อนสารอันตราย<span class="redactor-invisible-space"></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></span></li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน มหันตภัย เคมีพิบัติ วันศุกร์ที่ 6 สิงหาคม 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>797202021-07-16 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตสุวรรณภูมิ ตำนานสู่อนาคต16 ก.ค. 256417:18https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/79720https://program.thaipbs.or.th/watch/2E3zer<ul><li>มีเรื่องราวบันทึกถึงสุวรรณภูมิอยู่มากมาย หากแต่ดินแดนแห่งนี้อยู่ที่ใด ?</li><li>ดินแดนที่ร่ำลือกันว่ามีความมั่งคั่งมาก หากใครได้ไปถึงที่นั่น จะร่ำรวยกลับมา</li><li>สุวรรณภูมิมีอยู่จริง หรือเป็นเพียงตำนาน?</li></ul><p><strong>ติดตามนักโบราณคดีและนักวิจัย สำรวจหาร่องรอยหลักฐานอารยธรรมสุวรรณภูมิ</strong> ด้วยนวัตกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ รวมถึงการพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ และโบราณคดี นำมาใช้สืบค้นเพื่อยืนยันหลักฐานการมีอยู่จริงของดินแดนสุวรรณภูมิ</p><p><strong>ข้อค้นพบจะช่วยต่อภาพผู้คนในภูมิภาค เชื่อมโลก ฟื้นตำนานแผ่นดินทอง สู่บทบันทึกใหม่แห่งอนาคต</strong></p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong> </p><ul><li><strong>ศ.พิเศษ ศรีศักร วัลลิโภดม</strong> : นักวิชาการด้านโบราณคดีและมานุษยวิทยา</li><li><strong>Mr. Peter Skilling</strong> : ผู้เชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์ สำนักฝรั่งเศสแห่งปลายบุรพทิศ</li><li><strong>นพ.บัญชา พงษ์พานิช</strong> : ประธานสถาบันสุวรรณภูมิศึกษา ธัชชา</li><li><strong>ผศ.ชวลิต ขาวเขียว</strong> : คณบดีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร</li><li><strong>ดร.ศิริลักษณ์ พฤกษ์ปิติกุล</strong> : ผู้อำนวยการ สำนักประยุกต์และบริการภูมิสารสนเทศ</li><li><strong>ดร.เฉลิมพงษ์ โพธิ์ลี้</strong> : นักวิทยาศาสตร์นิวเคลียร์ ฝ่ายเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม ศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีนิวเคลียร์</li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน สุวรรณภูมิ ตำนานสู่อนาคต วันศุกร์ที่ 16 กรกฎาคม 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>793172021-07-09 17:30:00qoderThe NEXT คลื่นอนาคตCOVID-19 ไวรัสช็อกโลก9 ก.ค. 256417:57https://program.thaipbs.or.th/WaveoftheFuture/episodes/79317https://program.thaipbs.or.th/watch/s9VkmK<p>เมื่อโลกยังต้องเผชิญกับการแพร่ระบาดของ COVID-19 เราจะรับมือกับโรคอุบัติใหม่นี้ต่อไปอย่างไร ? ชวนหาคำตอบ ค้นหาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ที่จะเข้ามาช่วยชีวิตของมนุษย์เรา เพื่อรู้ทันและเข้าใจ พร้อมรับมือสู้ภัยจากไวรัส</p><p>ตามนักวิจัยไทยที่กำลังเร่งเดินหน้าพัฒนาวัคซีน เพื่อให้ทันกับการแพร่ระบาด ลดการติดเชื้อและการเสียชีวิต ซึ่งวัคซีนบางตัวได้ผ่านการทดลองในอาสาสมัครแล้ว และบางตัวก็ประสบความสำเร็จอย่างสูงในสัตว์ทดลอง นอกจากนี้ ยังมีวัคซีนที่เป็นเทคนิคผลิตวัคซีนรูปแบบใหม่จากพืช และในไม่ช้า เราจะได้ใช้วัคซีน COVID-19 จากฝีมือนักวิจัยไทย ที่ใช้หยอดจมูกแทนการฉีด</p><p><strong>ร่วมหาคำตอบไปกับ</strong><br></p><ul><li><strong>ผศ.นพ.โอภาส พุทธเจริญ</strong> : หัวหน้าศูนย์โรคอุบัติใหม่ทางคลินิก รพ.จุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย</li><li><span class="redactor-invisible-space"><strong>ศ.นพ.ยง ภู่วรวรรณ</strong> : หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านไวรัสวิทยาคลินิก คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ศ.นพ.ประกิต วาทีสาธกกิจ</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> อดีตหัวหน้าหน่วยโรคปอด ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล</span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ศ.เกียรติคุณ ดร.วสันต์ จันทราทิตย์</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> หัวหน้าศูนย์จีโนมทางการแพทย์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล</span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>นพ.นคร เปรมศรี</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> ผู้อำนวยการสถาบันวัคซีนแห่งชาติ</span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ศ.นพ.เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> ผู้อำนวยการโครงการวิจัยวัคซีนโควิด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>รศ.ดร.วรัญญู พูลเจริญ</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CTO บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด</span></span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ผศ.ภญ.ดร.สุธีรา เตชคุณวุฒิ</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> อาจารย์ประจำคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย CEO บริษัท ใบยา ไฟโตฟาร์ม จำกัด</span></span></span></span></span></span></span></span></li><li><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><span class="redactor-invisible-space"><strong>ดร.อนันต์ จงแก้ววัฒนา</strong> :<span class="redactor-invisible-space"> ทีมวิจัยไวรัสวิทยาและเซลล์เทคโนโลยี กลุ่มวิจัยนวัตกรรมสุขภาพสัตว์และการจัดการ สวทช.</span></span></span></span></span></span></span></span></span></li></ul><p><strong>คิดค้น เพื่อสร้างสรรค์ เปลี่ยนความรู้สู่นวัตกรรม พัฒนาสู่สิ่งใหม่ที่ดีกว่า</strong><span class="redactor-invisible-space" style="background-color: initial;"><strong> ติดตามชมได้ในรายการ The NEXT คลื่นอนาคต<span class="redactor-invisible-space"> ตอน COVID-19 ไวรัสช็อกโลก วันศุกร์ที่ 9 กรกฎาคม 2564 เวลา 17.30 - 18.00 น. ทางไทยพีบีเอส หรือรับชมผ่านทีวีออนไลน์ทาง </span></strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live"><strong></strong></a><strong><a href="http://www.thaipbs.or.th/live">www.thaipbs.or.th/live</a></strong></span></p>